วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557


บันทึกอนุทินครั้งที่15
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา  สุขสำราญ

วันอังที่ 25พฤจิกายน 2557


             สัปดาห์นี้เพื่อนๆได้ออกมานําเสนอบทความและวิวิจัยที่นําเสนอค้างจากอาทิตย์ที่แล้ว

และวันนี้ดิฉันก็ได้ออกมานําเสนอ บทความโทรทัศน์ครู เรื่องสารอาหารในชีวิตประจําวัน โดยมีการทด

ลอง ดังนี้ โดยที่ครูมีแกงส้มมาให้เด็กๆแต่ล่ะกลุ่ม โดยใช้คําถามกับเด็กๆว่า เด็กรู้ไหมค่ะว่าในแกงส้มนี้มี 

กรด มีด่าง ในแกงส้มหรือเปล่าแล้วคุณครูก็ให้เด็กๆ ทดลอง ให้เอากระดาษจุ่มลงไปในแกงส้มถ้า 

กระดาษเปลี่ยนสี แสดงว่า ในแกงส้มถ้วยนี้มีกรด โดยครูกับเด็กร่วมกันสรุปโดย ครูพูดว่าเด็กๆค่ะที่กระ

ดาษเปลี่ยนสีเพราะในแกงส้มถ้วยนี้ มีกรด ซึ่งกรดมาจากน้ำมะนาว และน้ำมะขาม การที่ครูจัดกิจกรรมนี้

เพราะอยากให้เด็กเห็นคุณค่าในตัวเอง

    บทความนี้มาจาก ดร.ศศิธร เขียวกอ โรงเรียนพยาไทย

   กิจกรรมต่อมาคือการทําขนมวาฟเฟิล

 เรื่องปรุง
  1. ไข่ไก่ 
  2. เนย
  3. แป้งวาฟเฟิล
  4. น้ำเปล่า
 วิธีการทํา

    เทแป้งวาฟเฟิลลงภาชะแล้วใส่ไข่ไก่ลงไป คนให้เข้ากันใส่นํ้าเปล่าลงไปแล้วตามด้วยเนย

จากนั้นก็ตีแป้งให้เข้ากันจากนั้นก็ นำแป้งที่ตีให้เข้ากันกันมาเทลงเครื่องทําวาฟเฟิล จากนั้นรอ

ให้สุกแล้วนําออกมา



การประเมินผล


ประเมินตนเอง = ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนองานและฟังอาจารย์ชี้แนะเพิ่มเติมและตั้งใจนำเสนอบทความแต่งกายสุภาพ




ประเมินเพื่อน= เพื่อนๆตั้งใจนวจัยและบทความอย่างตั้งใจอาจจะมีเสียงดังบ้างในบางครั้ง



ประเมินอาจารย์ = อาจายร์ชี้แนะเพิ่มเติมจากที่เพื่อนๆนำเสนอวิจัยและบทความให้เราเข้าใจ

มากขึ้นและเข้าใจง่ายกว่าเดิม





วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การสรุปวิจัย

                          การสรุปวิจัย


 เรื่อง การปรุงอาหาร โดย คุณประภัสร โคตะขุน


             สำหรับ เด็กอายุ 5 – 6 ขวบ


มโนทัศน์การเรียนรู้ การปรุงอาหารเกิดจากการผสมส่วนประกอบของอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างถูกต้องตามชื่ออาหารนั้นให้ได้รสที่ต้องการ

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ปรุงอาหารเป็น รู้จักรสอาหาร เช่น เค็ม เปรี้ยว หวาน สนุกกับการทำงานร่วมกับเพื่อน

สิ่งที่เด็กต้องปฏิบัติ ช่วยกันวางแผนปรุงอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งที่กลุ่มเลือก และช่วยกันปรุงอาหารนั้น

อุปกรณ์ที่เตรียม เครื่องปรุง จาน ชาม ช้อนสำหรับใส่อาหารเครื่องครัวเท่าที่ต้องการขั้นดำเนินการ


1. ครูให้เด็กช่วยกันเลือกอาหารที่ตนเองชอบและต้องการปรุง (ครูอาจมีตัวเลือก 2 – 3 อย่าง ที่เป็นอาหารกลุ่มเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการเตรียมเครื่องปรุง เช่น ส้มตำ สลัดผัก แซนวิช เป็นต้น)

2. ให้เด็กแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำ

3. เสร็จแล้วให้วางแผนร่วมมือกันพร้อมปรุงอาหารที่เลือก

4. แบ่งปันกลุ่มอื่นรับประทานอาหารร่วมกัน


ข้อสรุปบทเรียน

1. อภิปรายกลุ่มใหญ่เรื่องปัญหาการปรุงอาหารและการช่วยเหลือกัน

2. สรุปผลการปรุงอาหารว่าใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์ใด

3. อาหารที่ปรุงมีรสอะไรบ้าง

การประเมินภาพการเรียนรู้


                   Ÿ สังเกตการตอบคำถามเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ตัวอย่างกิจกรรมอาหาร เป็นกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เด็กชอบมากเนื่องจากคุ้นเคยอยู่กับบ้านเป็นกิจวัตรที่เด็กทุกคนสนใจและต้องการทำ ในการจัดกิจกรรมอาหารนี้ ควรใช้กลุ่มเล็ก เพื่อความปลอดภัย และสามารถสนทนาในรายละเอียดเวลารับประทานร่วมกัน เด็กจะเกิดมโนทัศน์ เรื่องอาหาร เช่น ประโยชน์ของอาหารต่อร่างกาย และเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามจุดประสงค์ของกิจกรรม นอกจากนี้การรับประทานอาหารด้วยกันยังเป็นการฝึกให้เด็กช่วยตนเองในการรับประทานอาหาร เช่น ตักอาหาร และทำอาหารง่าย ๆ


สรุป

กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ข้อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นธรรมชาติรอบตัวที่เด็กพบในชีวิตประจำวัน โดยเน้นการใช้ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ คือ

1) การสังเกต

2) การจำแนกเปรียบเทียบ

3) การวัด

4) การสื่อสาร

5) การทดลอง และ

6) การสรุปและนำไปใช้

สิ่งที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยการค้นคว้า การสืบค้น และการทำความเข้าใจธรรมชาติรอบตัว รู้จักวิธีการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวไปด้วย



แหล่งอ้างอิง



กุลยา ตันติผลาชีวะ. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เบรน-เบส บุ๊คส์, 2551

http://www.karn.tv/c_science/tip_001.html#



ที่มา :: http://www.gotoknow.org/posts/427486?





บันทึกอนุทินครั้งที่14

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 18 พฤจิกายน 2557


             สัปดาห์นี้ ยังเหลืออีก3กลุ่มที่ยังไม่ได้ออกมาสอน
1.นกหงส์หยก (กลุ่มของดิฉัน) ได้สอนการเปรียบเทียบความเหมือนความต่างของนกหงส์หยก
2. สับปะรด ได้สอนประโยชน์และข้อควรระวัง
3. ส้ม ได้สอนประโยชน์จจากการแปรรูป

         
     การสอนการเปรียบเทียบความเหมือนต่างของนกหงส์หยกสรุปได้ ดังนี้ คือ เด็กหงส์หยกมีสี3สีที่เหมือนกัน คือสี ขาว ดํา ม่วง และมีลักษณะที่เหมือนกัน คือปากที่แหลม ตา`2ข้าง ปาก1 มีปีกเป็นแผงเหมือนกัน มีขา2ขา นิ้ว3 นิ้ว  

     ส่วนที่แตกต่างกันคือ ขนาดเพราะแต่ล่ะสายพันธ์มีขนาดไม่เท่า กัน มีทั้งใหญ่ เล็ก อ้วน ผอม

   และกิจกรรมต่อมาคือการอ่านบทความและวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์


และการทํากิจกรรมทำไข่เทอริยากิ     




เป็นกิจกรรมที่นําไปใช้กับเด็กปฐมวัยเป็นกิจกกรมขั้นทดลองขั้นลงมือปฎิบัติ
ส่วนผสม

1.ไข่ไก่ =Egg

2.ข้าวสวย=Rice

3.แครอท=carrot

4.ต้นหอม =leek

5.ปูอัด= a crab compresses

6.ซอสปรุงรส

7.เนย =better

วิธีการทำ

1.ตีไข่ใส่ชาม

2.นำส่วนผสมต่างๆใส่ลงไปในไข่ในอัตราส่วนที่พอดี

3.นำเนยใส่ในหลุมกระทะ

4.คนส่วนผสมให้เข้ากันจากนั้นนำไปเทลงในหลุมกระทะที่เตรียมไว้

การนำไปใช้
 เราสามารถนํากิจกรรมในวันนี้ไปใช้ได้จิง เพราะเด็กเป็นวัยที่อยากรู้ อยากเห็นมีความสนใจในกิจกรรมถ้า

เค้าได้ทํา หรือสามารถนําไปเขียนแผนในอนาคตได้และยังช่วยพ่อแม่ดูแลบุตรหลานได้



การประเมินผล


ประเมินตนเอง
= แต่งกายเรียนร้อย สัปดาห์นี้ กลุ่มของดิฉันได้เตรียมพร้อมการนำเสนอ แต่ยังนำเสนอไม่ค่อยดีต้องมีวีธีแก้ไขเพิ่งเต็มในการจัดกิจกรรม




ประเมินเพื่อน= เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอแผนการสอนได้ดีค่ะ และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมที่เพื่อนสอน

แผนการสอนมีเสียงดังล้างแต่จะเงียบในช่วงทํากิจกรรมทรอริยากิ




ประเมินผู้สอน = อาจารย์มีได้อธิบายเพิ่งเต็มทุกกิจกรรมและได้ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อีกมากมายค่ะวันนี้อาจารย์ใจดีด้วยค่ะ

วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

               
สรุปบทความ

      เรื่อง สารอาหารในชีวิตประจําวัน ด.ร ศศิธร เขียวกอ

      คุณครูนํากิจกรรมมาให้เด็กทําในห้องเรียนโดย มีขนมและกับข้าวมาให้เด็กๆแต่ล่ะกลุ่มครูบอกถึง

ประโยชน์และอาหารให้เด็กๆวิเคาะอาหารอาหารของแต่ล่ะกลุ่มว่ามีประโยชน์อย่างไร
     
   แล้วขั้นต่อมาให้เด็กๆสํารวจและค้นหาหรือทดลองให้เค้าได้ลงมือทําด้วยตนเอง

               แล้วครูก็ถามประสบการณ์การเดิมของเด็กๆหรือถามเด็กๆว่าอาหารที่ครูนํามาให้เด็กๆมี

ประโยชน์หรือเปล่า
             
                 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทําให้เด็กเค้าได้เรียนรู้ว่าในชีวิตประจําวันของเค้าได้รับสารอาหารอะไรไปบ้าง

                     ครูสามารถเชื่อมโยงหน่วยการเรียนเข้ากับชีวิตจริงเด็กจะเห็น คุณค่าของชีวิตตนเอง

   

วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่13


          บันทึกอนุทินครั้งที่13

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557

          วันนี้มีการนําเสนอแผนที่เราเขียน โดยมีกลุุ่มดังนี้
  • กลุ่มผลไม้
           โดยมีขั้นนําโดยสอนเด็กร้องเพลงจํ้าผลไม้ กลุ่มแรกจะสอนเรื่องของชนิดของผลไม้โดยให้เด็ก

ทํากิจกรรม และคุณครูเปรียบเทียบและอธิบายให้เด็กฟัง
  • กลุ่มแตงโม
          อันดับแรกคุณครูแนะนําอุปกรณ์และถามประสบการณ์เดิมของเด็ก โดยถามว่าเด็กๆว่าเด็กจะนํา

แตงโมมาทําอะไรได้บ้าง
                     
                แล้วให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทําแตงโมปั้นแล้วคุณครูก็บอกประโยชน์ของแตงโม
  • กลุ่มข้าวโพด
                 ขั้นนําคุณครูเล่านิทานให้เด็กๆฟังแล้วเชื่อมโยงไปถึงประโยชน์และข้อควรระวัง

ต่อมาครูถามถึงประสบการณ์การเดิมของเด็กว่าเราสามารถนํามาสร้าง
รายได้อะไรอีก

           ครูให้เด็กทํากิจกรรมโดยมีรูปภาพมาให้เด็กๆดูแล้วถามเด็กว่าภาพนี้เป็นประโยชน์หรือโทษ
  • กลุ่มกล้วย
           มีการสอนคล้ายๆกับกลุ่มข้าวโพด

  • กลุ่มช้าง
สอนเกี่ยวกับลักษณะของช้างและสายพันธ์





การประเมินผล


การนำไปใช้

สามารถนำกิจกรรมที่เรียนวันนี้ไปใช้สอนในอนาคตได้ในการจะจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กเราต้องมีแผนการสอนเพื่อดูว่าเด็กสามารถทํากิจกรรมได้หรือเปล่าดูพัฒนาการของเด็ก


ประเมินตนเอง
= ตั้งใจเรียนแต่วันนี้หนูรู้สึกงงเป็นบางครั้งและเกิดความผิดพลาดทําให้ไม่ได้ออกนําเสนองาน


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมกันฟังเพื่อนนําเสนองานและฟังอาจารย์เสนอแนะ


ประเมินผู้สอน
= อาจารย์อธิบายของ

แต่ล่ะกลุ่มให้เราเข้าใจและขอบคุณอาจารย์ที่ไม่ว่าอะไรกลุ่มนกหงส์หยกที่เกิดข้อผิดพลาดจากตอน

กลัวอาจารย์แต่ตอนนี้เปลี่ยนไปทําให้รักอาจารย์มาขึ้น

บันทึกอนุทินครั้งที่12



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันอังคารที่ 4 พฤศจิกายน 2557

วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11


                              บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 28 ตุลาคม 2557

            ในสัปดาห์นี้กิจกรรมการทดลองมาวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน





                         กิจกรรมต่อมาคือ อาจารได้แจกกระดาษให้นักศึกษาได้ตัดเป็นรูปดอกไม้ พับให้เป็น4มุม แล้วระบายสีหลังจากนั้นให้เอาดอกไม้ที่พับนั้นไปลอยในน้ำ ทำให้ดอกไม้ที่พับอยู่บานออกมา




                    การทดลองดินน้ำมัน อีกรูปแบบหนึ่งคือ ทำยังไงก้อได้ไม่ให้ดินน้ำมันจม
ดิฉันปั่นดินน้ำมันเป็นรูปตระกร้า






การประเมินผล

การนำไปใช้

สามารถนำกิจกรรมที่เรียนวันนี้ไปใช้สอนในอนาคตได้


ประเมินตนเอง = ตั้งใจเรียนและฟังอาจารย์สอน ร่วมกันทำกิจกรรมการทดลอง


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมกันทำกิจกรรมการทดลอง


ประเมินผู้สอน
= อาจารย์มีการสอนแบบคำถามแบบปลายเปิด ให้นักศึกษาได้มีการทดลองกิจกรรมที่อาจารย์ได้นำมาสอน ได้ให้แนวการเขียนแผน



บันทึกอนุทินครั้งที่ 10


                                        บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 21 ตุลาคม 2557

                สัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นำเสนอ ของเล่นวิทยาศาสตร์ พร้อมบอกวิธีการทำ วิธิการเล่น และบอกของเล่นชิ้นนี้เกี่ยวอะไรกับวิทยาศาสตร์ ยังไงของเล่นที่เพื่อนๆ นําเสนอ
  • กังหันนํ้า
  • เครื่องเคาะจังหวะ
  • ร่มชูชีพ
  • หลอดเป่าลูกโปร่ง
  • รถพลังลม
  • กังหันลม
  • ลูกข่างจากแผ่นซีดี
  • รถแรงดันลม
  • กีตร้าดนตี
  • จรวจลูกโปร่ง
  • รถจากหลอดด้
  •  ส่วนของเล่นของดิฉันคือรถจากหลอดได้




กิจกรรมต่อมา
อาจารย์ก้อได้ให้ประดิษฐ์ของเล่นจากแกนทิชชู่



วิธีการทำ

1.ตัดแกนทิชชู่ เจาะรูทั้ง 2 ฝั่นตรงข้าม
2. ใช้ไหมพรมใส่เข้าไปในรูที่เจาะ
3.แล้ววาดลงไปที่แกนทิชชู่ที่เราชอบ


การนำไปใช้

                   สามารถนำผลงานที่เรียนวันนี้ไปใช้ในอนาคตได้


ประเมินตนเอง
= ตั้งใจเรียนและฟังอาจารย์สอนมีการตอบคำถามกับอาจารย์ และได้ออกนำเสนองานหน้าห้อง คุยเป็นช่วงๆ


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน มีคุยเป็นบางเวลา ได้ออกนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์


ประเมินผู้สอน = อาจารย์มีการสอนแบบคำถามแบบปลายเปิด ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคำเกือบทุกคน อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกัยประดิษฐ์ของเล่น