วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การสรุปวิจัย

วิจัยเรื่อง

ความคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองกับแบบปกติ

ชื่อผู้แต่ง นวพร ทวีวิทย์ชาคริยะ 
ปีที่ทำวิจัยสำเร็จ 2541 สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วตัถุประสงค 

  • เพื่อศึกษาความคิดเชิงเหตุผลกอนและหลังการทดลองของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัด ประสบการณแบบปฏิบัตกิารทดลอง
  • เพื่อศึกษาความคิดเชิงเหตุผลกอนและหลังการทดลองของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัด ประสบการณแบบปกติ
  •   เพื่อเปรียบเทียบความคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณ แบบปฏิบัติการทดลองกับการจดัประสบการณแบบปกติ 
สมมติฐานการวิจัย
  • เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกอนการทดลองและหลัง การทดลองมีความคิดเชิงเหตุผลแตกตางกัน
  •   เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปกติกอนการทดลองและหลังการทดลองมี ความคิดเชิงเหตุผลแตกตางกัน
  •   เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกับเด็กปฐมวัยที่ไดรับ การจัดประสบการณแบบปกติมีความคิดเชิงเหตุผลแตกตางกัน 
วิธีดําเนินการวิจัย
  •  กลุมตัวอยาง เปนเด็กปฐมวัยชายและหญิงอายุ ที่มีอายุระหวาง 5-6 ป กําลังเรียนอยูใน ชั้นอนุบาลปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2540 ของโรงเรียนอนุบาลนวพร สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาเอกชน อาํเภอบานนาสาร จงัหวัดสุราษฎรธานี จาํนวน 30 คน
  •    เครื่องมือที่ใช  คือ แบบทดสอบวัดความความคิดเชิงเหตุผลของพรีเพชร แสงเทียน  (2534: 5-103) มีคาความเชื่อมั่นเปน .77 และแผนการจัดประสบการณประกอบดวย แผนการจัด ประสบการณแบบปฏิบัตกิารทดลอง และแผนการจัดประสบการณแบบปกติ
  •  ชวงเวลาการทดลอง ทําการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2540 ระยะเวลา ในการทดลอง 8 สปัดาห สปัดาหละ 5 วัน วนัละ 30 นาที   100302 100302 
  •  การวิเคราะหขอมูล 4.4.1 วิเคราะหคาสถิติพื้นฐาน ดวยคะแนนเฉลี่ย (X) และคาความแปรปรวน (S2) 4.4.2 เปรียบเทียบความแตกตางความคิดเชิงเหตุผลกอนการทดลองและหลังการทดลอง ของกลุมควบคุมและกลุมทดลองโดยใช t-test Dependent  4.4.3 เปรียบเทียบความคิดเชิงเหตุผลระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม โดยใช t-test Independent 
ผลการวิจัย


  • เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกอนการทดลองและหลัง การทดลองมีความคิดเห็นเชิงเหตุผลแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p = .000 แสดงให เห็นวาภายหลังจากการทดลองเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองมี ความคิดเชิงเหตุผลสูงขึ้น 
  •  เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปกติกอนการทดลองและหลังการทดลองมี ความคิดเห็นเชิงเหตุผลแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p = .017 แสดงใหเห็นวาภาย หลังจากการทดลองเด็กปฐมวัยที่ไดรบัการจัดประสบการณแบบปกติมคีวามคิดเชิงเหตุผลสูงขึ้น 
  •  เด็กปฐมวัยที่ไดรบัการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกับแบบปกติมีความคิดเห็น เชิงเหตุผลแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p = .000 ซึ่งแสดงวาวิธีการจัดประสบการณ แบบปฏิบัติการทดลองสงผลใหเด็กปฐมวัยมีความคิดเชิงเหตุผลสูงกวาจัดประสบการณแบบปกติ 

บันทึกอนุทินครั้งที่16

บันทึกอนุทินครั้งที่16

                         วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

                           อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                           วันที่ 02 ธันวาคม 2557

                     ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูของแต่ละคนได้นําเสนอเรื่อง

ด้านเรื่องวิจัย
                     

  • การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  • ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ-โครงงานกับแบบสืบเสาะหาความรู้
  • ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยในการจัดกิจกรรมหลังจากการได้รับฟังนิทาน
  • ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการเรียนนอกห้องเรียน
  • การพัฒนากิจกรรมวิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย
โทรทัศน์
  • วิทยาศาสตร์สนุก
  • เสียงและการได้ยิน
  • ผงวิเศษช่วยชีวิต
  • สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์


    การนำไปใช้
    เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ สามารถนำความรู้ที่ได้วันนี้ไปเผยแผ่ให้กับเด็กได้เพราะในชีวิตประจำวันนี้วิทยาศาสตร์สำคัญ กับเด็กมาก จากการฟังที่เพื่อนนำเสนอสามารถนำไปใช้สอนได้จริงเช่นเรื่องจิตวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้ สังเกต ซักถาม

    การประเมินผล


    ประเมินตนเอง = มีส่วนร่วมในการทํากิจกรรมหรือตอบคําถามต่างๆและยังได้ความรู้เพิ่มเพิ่มเช่นในเรื่องจิตวิทยาศาสตร์

    ประเมินเพื่อน
    = เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอโทรทัศน์ครู และวิจัย อย่างตั้งใจและมีคุยกันบ้างในบางครั้ง

    ประเมินผู้สอน =อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโทรทัศน์ครูและวิจัย และยังให้คำแนะนำเกี่ยวกับแผนการสอนชี้แนะในข้อบกพร่องเพื่อที่จะหาแนวทางแก้ไข