วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การสรุปวิจัย

วิจัยเรื่อง

ความคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองกับแบบปกติ

ชื่อผู้แต่ง นวพร ทวีวิทย์ชาคริยะ 
ปีที่ทำวิจัยสำเร็จ 2541 สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วตัถุประสงค 

  • เพื่อศึกษาความคิดเชิงเหตุผลกอนและหลังการทดลองของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัด ประสบการณแบบปฏิบัตกิารทดลอง
  • เพื่อศึกษาความคิดเชิงเหตุผลกอนและหลังการทดลองของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัด ประสบการณแบบปกติ
  •   เพื่อเปรียบเทียบความคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณ แบบปฏิบัติการทดลองกับการจดัประสบการณแบบปกติ 
สมมติฐานการวิจัย
  • เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกอนการทดลองและหลัง การทดลองมีความคิดเชิงเหตุผลแตกตางกัน
  •   เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปกติกอนการทดลองและหลังการทดลองมี ความคิดเชิงเหตุผลแตกตางกัน
  •   เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกับเด็กปฐมวัยที่ไดรับ การจัดประสบการณแบบปกติมีความคิดเชิงเหตุผลแตกตางกัน 
วิธีดําเนินการวิจัย
  •  กลุมตัวอยาง เปนเด็กปฐมวัยชายและหญิงอายุ ที่มีอายุระหวาง 5-6 ป กําลังเรียนอยูใน ชั้นอนุบาลปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2540 ของโรงเรียนอนุบาลนวพร สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาเอกชน อาํเภอบานนาสาร จงัหวัดสุราษฎรธานี จาํนวน 30 คน
  •    เครื่องมือที่ใช  คือ แบบทดสอบวัดความความคิดเชิงเหตุผลของพรีเพชร แสงเทียน  (2534: 5-103) มีคาความเชื่อมั่นเปน .77 และแผนการจัดประสบการณประกอบดวย แผนการจัด ประสบการณแบบปฏิบัตกิารทดลอง และแผนการจัดประสบการณแบบปกติ
  •  ชวงเวลาการทดลอง ทําการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2540 ระยะเวลา ในการทดลอง 8 สปัดาห สปัดาหละ 5 วัน วนัละ 30 นาที   100302 100302 
  •  การวิเคราะหขอมูล 4.4.1 วิเคราะหคาสถิติพื้นฐาน ดวยคะแนนเฉลี่ย (X) และคาความแปรปรวน (S2) 4.4.2 เปรียบเทียบความแตกตางความคิดเชิงเหตุผลกอนการทดลองและหลังการทดลอง ของกลุมควบคุมและกลุมทดลองโดยใช t-test Dependent  4.4.3 เปรียบเทียบความคิดเชิงเหตุผลระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม โดยใช t-test Independent 
ผลการวิจัย


  • เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกอนการทดลองและหลัง การทดลองมีความคิดเห็นเชิงเหตุผลแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p = .000 แสดงให เห็นวาภายหลังจากการทดลองเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองมี ความคิดเชิงเหตุผลสูงขึ้น 
  •  เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณแบบปกติกอนการทดลองและหลังการทดลองมี ความคิดเห็นเชิงเหตุผลแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p = .017 แสดงใหเห็นวาภาย หลังจากการทดลองเด็กปฐมวัยที่ไดรบัการจัดประสบการณแบบปกติมคีวามคิดเชิงเหตุผลสูงขึ้น 
  •  เด็กปฐมวัยที่ไดรบัการจัดประสบการณแบบปฏิบัติการทดลองกับแบบปกติมีความคิดเห็น เชิงเหตุผลแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p = .000 ซึ่งแสดงวาวิธีการจัดประสบการณ แบบปฏิบัติการทดลองสงผลใหเด็กปฐมวัยมีความคิดเชิงเหตุผลสูงกวาจัดประสบการณแบบปกติ 

บันทึกอนุทินครั้งที่16

บันทึกอนุทินครั้งที่16

                         วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

                           อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                           วันที่ 02 ธันวาคม 2557

                     ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูของแต่ละคนได้นําเสนอเรื่อง

ด้านเรื่องวิจัย
                     

  • การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  • ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ-โครงงานกับแบบสืบเสาะหาความรู้
  • ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยในการจัดกิจกรรมหลังจากการได้รับฟังนิทาน
  • ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการเรียนนอกห้องเรียน
  • การพัฒนากิจกรรมวิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย
โทรทัศน์
  • วิทยาศาสตร์สนุก
  • เสียงและการได้ยิน
  • ผงวิเศษช่วยชีวิต
  • สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์


    การนำไปใช้
    เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ สามารถนำความรู้ที่ได้วันนี้ไปเผยแผ่ให้กับเด็กได้เพราะในชีวิตประจำวันนี้วิทยาศาสตร์สำคัญ กับเด็กมาก จากการฟังที่เพื่อนนำเสนอสามารถนำไปใช้สอนได้จริงเช่นเรื่องจิตวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้ สังเกต ซักถาม

    การประเมินผล


    ประเมินตนเอง = มีส่วนร่วมในการทํากิจกรรมหรือตอบคําถามต่างๆและยังได้ความรู้เพิ่มเพิ่มเช่นในเรื่องจิตวิทยาศาสตร์

    ประเมินเพื่อน
    = เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอโทรทัศน์ครู และวิจัย อย่างตั้งใจและมีคุยกันบ้างในบางครั้ง

    ประเมินผู้สอน =อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโทรทัศน์ครูและวิจัย และยังให้คำแนะนำเกี่ยวกับแผนการสอนชี้แนะในข้อบกพร่องเพื่อที่จะหาแนวทางแก้ไข

วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557


บันทึกอนุทินครั้งที่15
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา  สุขสำราญ

วันอังที่ 25พฤจิกายน 2557


             สัปดาห์นี้เพื่อนๆได้ออกมานําเสนอบทความและวิวิจัยที่นําเสนอค้างจากอาทิตย์ที่แล้ว

และวันนี้ดิฉันก็ได้ออกมานําเสนอ บทความโทรทัศน์ครู เรื่องสารอาหารในชีวิตประจําวัน โดยมีการทด

ลอง ดังนี้ โดยที่ครูมีแกงส้มมาให้เด็กๆแต่ล่ะกลุ่ม โดยใช้คําถามกับเด็กๆว่า เด็กรู้ไหมค่ะว่าในแกงส้มนี้มี 

กรด มีด่าง ในแกงส้มหรือเปล่าแล้วคุณครูก็ให้เด็กๆ ทดลอง ให้เอากระดาษจุ่มลงไปในแกงส้มถ้า 

กระดาษเปลี่ยนสี แสดงว่า ในแกงส้มถ้วยนี้มีกรด โดยครูกับเด็กร่วมกันสรุปโดย ครูพูดว่าเด็กๆค่ะที่กระ

ดาษเปลี่ยนสีเพราะในแกงส้มถ้วยนี้ มีกรด ซึ่งกรดมาจากน้ำมะนาว และน้ำมะขาม การที่ครูจัดกิจกรรมนี้

เพราะอยากให้เด็กเห็นคุณค่าในตัวเอง

    บทความนี้มาจาก ดร.ศศิธร เขียวกอ โรงเรียนพยาไทย

   กิจกรรมต่อมาคือการทําขนมวาฟเฟิล

 เรื่องปรุง
  1. ไข่ไก่ 
  2. เนย
  3. แป้งวาฟเฟิล
  4. น้ำเปล่า
 วิธีการทํา

    เทแป้งวาฟเฟิลลงภาชะแล้วใส่ไข่ไก่ลงไป คนให้เข้ากันใส่นํ้าเปล่าลงไปแล้วตามด้วยเนย

จากนั้นก็ตีแป้งให้เข้ากันจากนั้นก็ นำแป้งที่ตีให้เข้ากันกันมาเทลงเครื่องทําวาฟเฟิล จากนั้นรอ

ให้สุกแล้วนําออกมา



การประเมินผล


ประเมินตนเอง = ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนองานและฟังอาจารย์ชี้แนะเพิ่มเติมและตั้งใจนำเสนอบทความแต่งกายสุภาพ




ประเมินเพื่อน= เพื่อนๆตั้งใจนวจัยและบทความอย่างตั้งใจอาจจะมีเสียงดังบ้างในบางครั้ง



ประเมินอาจารย์ = อาจายร์ชี้แนะเพิ่มเติมจากที่เพื่อนๆนำเสนอวิจัยและบทความให้เราเข้าใจ

มากขึ้นและเข้าใจง่ายกว่าเดิม





วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การสรุปวิจัย

                          การสรุปวิจัย


 เรื่อง การปรุงอาหาร โดย คุณประภัสร โคตะขุน


             สำหรับ เด็กอายุ 5 – 6 ขวบ


มโนทัศน์การเรียนรู้ การปรุงอาหารเกิดจากการผสมส่วนประกอบของอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างถูกต้องตามชื่ออาหารนั้นให้ได้รสที่ต้องการ

ผลลัพธ์การเรียนรู้ ปรุงอาหารเป็น รู้จักรสอาหาร เช่น เค็ม เปรี้ยว หวาน สนุกกับการทำงานร่วมกับเพื่อน

สิ่งที่เด็กต้องปฏิบัติ ช่วยกันวางแผนปรุงอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งที่กลุ่มเลือก และช่วยกันปรุงอาหารนั้น

อุปกรณ์ที่เตรียม เครื่องปรุง จาน ชาม ช้อนสำหรับใส่อาหารเครื่องครัวเท่าที่ต้องการขั้นดำเนินการ


1. ครูให้เด็กช่วยกันเลือกอาหารที่ตนเองชอบและต้องการปรุง (ครูอาจมีตัวเลือก 2 – 3 อย่าง ที่เป็นอาหารกลุ่มเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการเตรียมเครื่องปรุง เช่น ส้มตำ สลัดผัก แซนวิช เป็นต้น)

2. ให้เด็กแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำ

3. เสร็จแล้วให้วางแผนร่วมมือกันพร้อมปรุงอาหารที่เลือก

4. แบ่งปันกลุ่มอื่นรับประทานอาหารร่วมกัน


ข้อสรุปบทเรียน

1. อภิปรายกลุ่มใหญ่เรื่องปัญหาการปรุงอาหารและการช่วยเหลือกัน

2. สรุปผลการปรุงอาหารว่าใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์ใด

3. อาหารที่ปรุงมีรสอะไรบ้าง

การประเมินภาพการเรียนรู้


                   Ÿ สังเกตการตอบคำถามเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ตัวอย่างกิจกรรมอาหาร เป็นกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เด็กชอบมากเนื่องจากคุ้นเคยอยู่กับบ้านเป็นกิจวัตรที่เด็กทุกคนสนใจและต้องการทำ ในการจัดกิจกรรมอาหารนี้ ควรใช้กลุ่มเล็ก เพื่อความปลอดภัย และสามารถสนทนาในรายละเอียดเวลารับประทานร่วมกัน เด็กจะเกิดมโนทัศน์ เรื่องอาหาร เช่น ประโยชน์ของอาหารต่อร่างกาย และเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามจุดประสงค์ของกิจกรรม นอกจากนี้การรับประทานอาหารด้วยกันยังเป็นการฝึกให้เด็กช่วยตนเองในการรับประทานอาหาร เช่น ตักอาหาร และทำอาหารง่าย ๆ


สรุป

กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ข้อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นธรรมชาติรอบตัวที่เด็กพบในชีวิตประจำวัน โดยเน้นการใช้ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ คือ

1) การสังเกต

2) การจำแนกเปรียบเทียบ

3) การวัด

4) การสื่อสาร

5) การทดลอง และ

6) การสรุปและนำไปใช้

สิ่งที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยการค้นคว้า การสืบค้น และการทำความเข้าใจธรรมชาติรอบตัว รู้จักวิธีการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวไปด้วย



แหล่งอ้างอิง



กุลยา ตันติผลาชีวะ. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เบรน-เบส บุ๊คส์, 2551

http://www.karn.tv/c_science/tip_001.html#



ที่มา :: http://www.gotoknow.org/posts/427486?





บันทึกอนุทินครั้งที่14

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 18 พฤจิกายน 2557


             สัปดาห์นี้ ยังเหลืออีก3กลุ่มที่ยังไม่ได้ออกมาสอน
1.นกหงส์หยก (กลุ่มของดิฉัน) ได้สอนการเปรียบเทียบความเหมือนความต่างของนกหงส์หยก
2. สับปะรด ได้สอนประโยชน์และข้อควรระวัง
3. ส้ม ได้สอนประโยชน์จจากการแปรรูป

         
     การสอนการเปรียบเทียบความเหมือนต่างของนกหงส์หยกสรุปได้ ดังนี้ คือ เด็กหงส์หยกมีสี3สีที่เหมือนกัน คือสี ขาว ดํา ม่วง และมีลักษณะที่เหมือนกัน คือปากที่แหลม ตา`2ข้าง ปาก1 มีปีกเป็นแผงเหมือนกัน มีขา2ขา นิ้ว3 นิ้ว  

     ส่วนที่แตกต่างกันคือ ขนาดเพราะแต่ล่ะสายพันธ์มีขนาดไม่เท่า กัน มีทั้งใหญ่ เล็ก อ้วน ผอม

   และกิจกรรมต่อมาคือการอ่านบทความและวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์


และการทํากิจกรรมทำไข่เทอริยากิ     




เป็นกิจกรรมที่นําไปใช้กับเด็กปฐมวัยเป็นกิจกกรมขั้นทดลองขั้นลงมือปฎิบัติ
ส่วนผสม

1.ไข่ไก่ =Egg

2.ข้าวสวย=Rice

3.แครอท=carrot

4.ต้นหอม =leek

5.ปูอัด= a crab compresses

6.ซอสปรุงรส

7.เนย =better

วิธีการทำ

1.ตีไข่ใส่ชาม

2.นำส่วนผสมต่างๆใส่ลงไปในไข่ในอัตราส่วนที่พอดี

3.นำเนยใส่ในหลุมกระทะ

4.คนส่วนผสมให้เข้ากันจากนั้นนำไปเทลงในหลุมกระทะที่เตรียมไว้

การนำไปใช้
 เราสามารถนํากิจกรรมในวันนี้ไปใช้ได้จิง เพราะเด็กเป็นวัยที่อยากรู้ อยากเห็นมีความสนใจในกิจกรรมถ้า

เค้าได้ทํา หรือสามารถนําไปเขียนแผนในอนาคตได้และยังช่วยพ่อแม่ดูแลบุตรหลานได้



การประเมินผล


ประเมินตนเอง
= แต่งกายเรียนร้อย สัปดาห์นี้ กลุ่มของดิฉันได้เตรียมพร้อมการนำเสนอ แต่ยังนำเสนอไม่ค่อยดีต้องมีวีธีแก้ไขเพิ่งเต็มในการจัดกิจกรรม




ประเมินเพื่อน= เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอแผนการสอนได้ดีค่ะ และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมที่เพื่อนสอน

แผนการสอนมีเสียงดังล้างแต่จะเงียบในช่วงทํากิจกรรมทรอริยากิ




ประเมินผู้สอน = อาจารย์มีได้อธิบายเพิ่งเต็มทุกกิจกรรมและได้ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อีกมากมายค่ะวันนี้อาจารย์ใจดีด้วยค่ะ

วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

               
สรุปบทความ

      เรื่อง สารอาหารในชีวิตประจําวัน ด.ร ศศิธร เขียวกอ

      คุณครูนํากิจกรรมมาให้เด็กทําในห้องเรียนโดย มีขนมและกับข้าวมาให้เด็กๆแต่ล่ะกลุ่มครูบอกถึง

ประโยชน์และอาหารให้เด็กๆวิเคาะอาหารอาหารของแต่ล่ะกลุ่มว่ามีประโยชน์อย่างไร
     
   แล้วขั้นต่อมาให้เด็กๆสํารวจและค้นหาหรือทดลองให้เค้าได้ลงมือทําด้วยตนเอง

               แล้วครูก็ถามประสบการณ์การเดิมของเด็กๆหรือถามเด็กๆว่าอาหารที่ครูนํามาให้เด็กๆมี

ประโยชน์หรือเปล่า
             
                 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทําให้เด็กเค้าได้เรียนรู้ว่าในชีวิตประจําวันของเค้าได้รับสารอาหารอะไรไปบ้าง

                     ครูสามารถเชื่อมโยงหน่วยการเรียนเข้ากับชีวิตจริงเด็กจะเห็น คุณค่าของชีวิตตนเอง

   

วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่13


          บันทึกอนุทินครั้งที่13

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557

          วันนี้มีการนําเสนอแผนที่เราเขียน โดยมีกลุุ่มดังนี้
  • กลุ่มผลไม้
           โดยมีขั้นนําโดยสอนเด็กร้องเพลงจํ้าผลไม้ กลุ่มแรกจะสอนเรื่องของชนิดของผลไม้โดยให้เด็ก

ทํากิจกรรม และคุณครูเปรียบเทียบและอธิบายให้เด็กฟัง
  • กลุ่มแตงโม
          อันดับแรกคุณครูแนะนําอุปกรณ์และถามประสบการณ์เดิมของเด็ก โดยถามว่าเด็กๆว่าเด็กจะนํา

แตงโมมาทําอะไรได้บ้าง
                     
                แล้วให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทําแตงโมปั้นแล้วคุณครูก็บอกประโยชน์ของแตงโม
  • กลุ่มข้าวโพด
                 ขั้นนําคุณครูเล่านิทานให้เด็กๆฟังแล้วเชื่อมโยงไปถึงประโยชน์และข้อควรระวัง

ต่อมาครูถามถึงประสบการณ์การเดิมของเด็กว่าเราสามารถนํามาสร้าง
รายได้อะไรอีก

           ครูให้เด็กทํากิจกรรมโดยมีรูปภาพมาให้เด็กๆดูแล้วถามเด็กว่าภาพนี้เป็นประโยชน์หรือโทษ
  • กลุ่มกล้วย
           มีการสอนคล้ายๆกับกลุ่มข้าวโพด

  • กลุ่มช้าง
สอนเกี่ยวกับลักษณะของช้างและสายพันธ์





การประเมินผล


การนำไปใช้

สามารถนำกิจกรรมที่เรียนวันนี้ไปใช้สอนในอนาคตได้ในการจะจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กเราต้องมีแผนการสอนเพื่อดูว่าเด็กสามารถทํากิจกรรมได้หรือเปล่าดูพัฒนาการของเด็ก


ประเมินตนเอง
= ตั้งใจเรียนแต่วันนี้หนูรู้สึกงงเป็นบางครั้งและเกิดความผิดพลาดทําให้ไม่ได้ออกนําเสนองาน


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมกันฟังเพื่อนนําเสนองานและฟังอาจารย์เสนอแนะ


ประเมินผู้สอน
= อาจารย์อธิบายของ

แต่ล่ะกลุ่มให้เราเข้าใจและขอบคุณอาจารย์ที่ไม่ว่าอะไรกลุ่มนกหงส์หยกที่เกิดข้อผิดพลาดจากตอน

กลัวอาจารย์แต่ตอนนี้เปลี่ยนไปทําให้รักอาจารย์มาขึ้น

บันทึกอนุทินครั้งที่12



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันอังคารที่ 4 พฤศจิกายน 2557

วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11


                              บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 28 ตุลาคม 2557

            ในสัปดาห์นี้กิจกรรมการทดลองมาวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน





                         กิจกรรมต่อมาคือ อาจารได้แจกกระดาษให้นักศึกษาได้ตัดเป็นรูปดอกไม้ พับให้เป็น4มุม แล้วระบายสีหลังจากนั้นให้เอาดอกไม้ที่พับนั้นไปลอยในน้ำ ทำให้ดอกไม้ที่พับอยู่บานออกมา




                    การทดลองดินน้ำมัน อีกรูปแบบหนึ่งคือ ทำยังไงก้อได้ไม่ให้ดินน้ำมันจม
ดิฉันปั่นดินน้ำมันเป็นรูปตระกร้า






การประเมินผล

การนำไปใช้

สามารถนำกิจกรรมที่เรียนวันนี้ไปใช้สอนในอนาคตได้


ประเมินตนเอง = ตั้งใจเรียนและฟังอาจารย์สอน ร่วมกันทำกิจกรรมการทดลอง


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมกันทำกิจกรรมการทดลอง


ประเมินผู้สอน
= อาจารย์มีการสอนแบบคำถามแบบปลายเปิด ให้นักศึกษาได้มีการทดลองกิจกรรมที่อาจารย์ได้นำมาสอน ได้ให้แนวการเขียนแผน



บันทึกอนุทินครั้งที่ 10


                                        บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 21 ตุลาคม 2557

                สัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นำเสนอ ของเล่นวิทยาศาสตร์ พร้อมบอกวิธีการทำ วิธิการเล่น และบอกของเล่นชิ้นนี้เกี่ยวอะไรกับวิทยาศาสตร์ ยังไงของเล่นที่เพื่อนๆ นําเสนอ
  • กังหันนํ้า
  • เครื่องเคาะจังหวะ
  • ร่มชูชีพ
  • หลอดเป่าลูกโปร่ง
  • รถพลังลม
  • กังหันลม
  • ลูกข่างจากแผ่นซีดี
  • รถแรงดันลม
  • กีตร้าดนตี
  • จรวจลูกโปร่ง
  • รถจากหลอดด้
  •  ส่วนของเล่นของดิฉันคือรถจากหลอดได้




กิจกรรมต่อมา
อาจารย์ก้อได้ให้ประดิษฐ์ของเล่นจากแกนทิชชู่



วิธีการทำ

1.ตัดแกนทิชชู่ เจาะรูทั้ง 2 ฝั่นตรงข้าม
2. ใช้ไหมพรมใส่เข้าไปในรูที่เจาะ
3.แล้ววาดลงไปที่แกนทิชชู่ที่เราชอบ


การนำไปใช้

                   สามารถนำผลงานที่เรียนวันนี้ไปใช้ในอนาคตได้


ประเมินตนเอง
= ตั้งใจเรียนและฟังอาจารย์สอนมีการตอบคำถามกับอาจารย์ และได้ออกนำเสนองานหน้าห้อง คุยเป็นช่วงๆ


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน มีคุยเป็นบางเวลา ได้ออกนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์


ประเมินผู้สอน = อาจารย์มีการสอนแบบคำถามแบบปลายเปิด ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคำเกือบทุกคน อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกัยประดิษฐ์ของเล่น

วันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่9

                                บันทึกอนุทินครั้งที่9
        
                              วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

                                                อาจารย์ จิตนา สุขสําราญ
     
                                             วันที่อังคาร14ตุลาคม 2557


              วันนี้ออกมานําเสนองานของเล่นของแต่ล่ะคน ซึ่งของเล่นของดิฉันคือรถจากหลอดด้าย



เตรียมอุปกรณ์

1. หลอดด้าย

2. เทียนไข

3. หนังยางรัดของ

4. ก้านธูปหรือก้านไม้กวาดทางมะพร้าว

5.คัตเตอร์

วิธีการทํา
ตัดเที่ยนไขให้มีขนาดสั้นกว่าหลอดด้ายเล็กน้อย
ใชัคัตเตอร์เซาะเทียนไขให้เป็นร่อง
หักก้านธูปให้มีขนาดเท่ากับเทียนไขแล้วนำหนังยางมาร้อยกับก้านธูปเอาไว้
คล้องหนังยางเข้ากับก้านธูปจากนั้นนำหนังยางสอดเข้าไปในรูของหลอดด้าย
นำปลายหนังยางที่สอดจากรูหลอดด้ายมาคล้องกับเทียนไข
สุดท้ายหักก้านธูปยาวประมาณ10-12ซม.สอดเข้าที่ร่องเที่ยนไขที่เราเซาะไว้เป็นอันเสร็จสิ้น

วิธีการเล่น


มือจับหลอดด้ายเอาไว้แล้วใช้มืออีกข้างหมุมก้านธูปในทิศทางตามเข็มนาฬิกาพอเริ่มดึงมือออกรถก็จะวิ่งไปเพราะเป็นการขับเคลื่นของพลังงานของหนังยาง

บันทึกอนุทินครั้งที่8

                               บันทึกอนุทินครั้งที่8
                                 
                                       วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย

                                                       อาจารย์ จิตนา สุขสําราญ
                                               
                                                        วันอังคารที่7ตุลาคม2557
       


                                                          สอบกลางภาค

บันทึกอนุทินครั้งที่7

                          บันทึกอนุทินครั้งที่7
       
                            วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย
               
                                       อาจารย์ จิตนา  สุขสําราญ
                                   
                                       วันอังคารที่30 กันยายน 2557



                         วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากฝนตกหนักเหลือนักศึกษาน้อยคน

วันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่6

                            บันทึกอนุทิน ครั้งที่6



                                    วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย              

              อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


                   วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ.2557

        วันนี้มีการนําเสนอบทความก่อนเข้าสู้เนื้อหาที่จะเรียน โดย
1 .นางสาว นภาวรรณ  กรุดขุนเทียน  สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทยาศาสตร์จากเป็ดและไก่

2. นางสาว สุธาสินี ธรรมมานนท์  สร้างแนวทางให้เด็กทดลองวิทยาศาสตร์

3. นางสาว นฤนล อิสระ  วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

4. นางสาวยุพดี  สนประเสริฐ  โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร
                
                                 อาจารย์ให้จัดกิจกรรมการสอนตามที่สนใจ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยมีหัวข้อที่ครอบคลุมมีชื่อเรื่องที่เด็กๆสนใจ
กลุ่มของดิฉันได้นำเสนอเรื่อง  นกหงส์หยก       
 นกหงส์หยกประกอบไปด้วย


  • ลักษณะของนก
  • อาหารของนก
  • ที่อยู่ มี2ประเภท ตามบ้านคนและตามธรรมชาติ
  • สี
  • เพศ
  1. ชนิด
  1. ข้อควรระวัง
  1. สายพันธ์

          แต่สิ่งที่เราควรนําไปเพิ่มคือ 

             การนําไปประยุกย์ใช้
                 สามารถนําไปใช้ในการฝึกสอนได้ให้เด็กได้รู้จักเกี่ยวกับนก และหน่วยอื่นอีกมากมายและความรู้ที่ได้รับนําไปใช้ในอนาคตของเราได้
           ประเมินผล
         ประเมินตนเอง
                          ตั้งใจเรียนและฟังข้อแนะนําจากอาจารย์และร่วมทํากิจกรรรมหน้าชั้นเรียน
        ประเมินเพื่อน
          มีคุยกันเรื่อยๆแต่ก็ตั้งใจเรียนและร่วมกันทํากิจกกรม
       ประเมินอาจารย์
         อาจารย์สอนและยกตัวอย่างให้ฟังและให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคําถา

บันทึกอนุทินครั้งที่5

                                                บันทึกอนุทินครั้งที่5
                
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

      อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ อังคารที่16 กันยายน พ.ศ. 2557




ความรู้ที่ได้รับ
                 อาจารย์ให้ฟังเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ แล้วอาจารย์ก็ถามว่าเพลงนี้มีความหมายเป็นอย่างไร ได้ความรู้จากเพลงอะไรบ้าง อาจารย์ให้นักศึกษาบอกเพลงเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยคนละ1 เพลง ห้ามซ้ำกัน ซึ่งเพลงของดิฉันคือ เพลง อย่าทิ้ง แล้วอาจารย์ก็บอกชื่อเพลงเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย หลังจากนั้นก็ให้มานําเสนอบทความตามเลขที่ ได้แก่เลขที่1และเลขที่2

1. นางสาว  วีนัส  ยอดแก้ว นำเสนอบทความเรื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตร์ จำเป็นหรือไม่
หลักสูตรวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เป็นการส่งเสริมและการจัดประสบการณ์ในรูปแบบบรูณาการที่สามารถส่งเสริมทั้ง4 ด้าน  ครูปฐมวัยควรรู้ว่ากิจกรรมที่จัดให้กับเด็กในแต่ละช่วงเวลา เป็นการส่งเสริมทักษะและแนวคิดวิทยาศาสตร์อะไรกับเด็กครูสามารถนำกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ไปจักกิจกรรมได้
2. นางสาว  เจนจิรา  บุญช่วง  นำเสนอบทความเรื่อง สอนลูกเรื่องพืช
เป็นการส่งเสริมให้ลูกเรียนรู้พืชอย่างใกล้ชิด พ่อแม่เป็นบทบาทที่สำคัญในการส่งเสริมซึ่งพ่อแม่สามารถหากิจกรรมให้กับเด็กโดยใช้บริเวณบ้านในการทำกิจกรรม เช่น ให้เด็กได้เรียนรู้การทำกับข้าว หัดให้เด็กได้ปลูกผัก

             การนำไปประยุกต์ใช้

            นำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติ่ม เพื่อไปใช้ในอนาคตข้างหน้า และนําเพลงไปเก็บเด็กเวลาสอนได้หรือทําให้เด็กสนใจ


การประเมินผล


ประเมินตนเอง = ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์สอนและตอบคําถามที่อาจารย์ถาม


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียนและมีคุยกัน


ประเมินผู้สอน = อาจารย์มีการสอนที่สนุกไม่เครียดและใช้คําถามปลายเปิดกับนักศึกษา


วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557


ความลับของแสง

แสง เป็นพลังงานรูปหนึ่งที่รับรู้ได้ด้วยสายตา แสงช่วยให้เรามองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้

แหล่งกำเนิดแสง

แหล่งกำเนิดแสง หมายถึง สิ่งที่ทำให้เกิดแสงได้ โดยแยกได้ 3 ประเภท ดังนี้

1. แสงที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงดาวบางดวง ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า แสงจากดวงอาทิตย์ถือว่าเป็นแหล่งกำเนิดแสงที่ใหญ่ที่สุด

2. แสงจากสัตว์ สัตว์บางชนิดจะมีแสงในตัวเอง เช่น หิ่งห้อย แมงดาเรือง

3. แสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เช่น แสงจากไฟฉาย เทียนไข หลอดไฟฟ้า แสงที่เกิดจากการลุกไหม้

การเดินทางของแสง

แสงเดินทางจากแหล่งกำเนิดด้วยความเร็วมาก โดยเดินทางได้ 186,000 ไมล์ต่อวินาที หรือ 300,000 กิโลเมตร ต่อวินาที แสงจะเดินทางเป็นเส้นตรง และเดินทางผ่านสุญญากาศได้ เช่น แสงจากดวงอาทิตย์เดินทางมายังโลกของเรา โดยผ่านสุญญากาศ ผ่านอากาศมายังโลกของเราใช้เวลา 8 นาที ซึ่งดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลกของเราถึง 93 ล้านไมล์

ตัวกลางของแสง

ตัวกลางของแสง หมายถึง วัตถุที่ขวางทางเดินของแสง โดยแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. ตัวกลางโปร่งใส หมายถึง ตัวกลางที่ยอมให้แสงผ่านไปได้หมด เช่น น้ำใส พลาสติกใส กระจกใส อากาศ แก้วใส

2. ตัวกลางโปร่งแสง หมายถึง ตัวกลางที่แสงผ่านไปได้ดี แต่ผ่านได้ไม่หมด เช่น น้ำขุ่น กระจกฝ้า หรือหมอกควัน เป็นต้น

3. ตัวกลางทึกแสง หมายถึง ตัวกลางที่แสงผ่านไม่ได้เลย เช่น สังกะสี กระเบื้อง กระจกเงา เป็นต้น

การหักเหของแสง

แสงเมื่อเดินทางผ่านตัวกลางอย่างเดียว จะเดินทางเป็นเส้นตรง แต่เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางอย่างหนึ่ง ไปยังตัวกลางอีกอย่างหนึ่ง ที่มีความหนาแน่นต่างกัน จะเกิดการหักเหของแสง เช่น แสงเดินทางจากน้ำผ่านอากาศ หรือจากอากาศผ่านไปยังน้ำ จะเกิดการหักเหตรงรอยต่อ

การหักเหของแสงผ่านเลนส์


เลนส์ คือ วัตถุโปร่งใสที่ทำจากแก้วหรือพลาสติก ลักษณะของเลนส์จะมีผิวโค้งบริเวณตรงกลาง และส่วนขอบจะหนาไม่เท่ากัน เลนส์แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ

1. เลนส์นูน มีลักษณะตรงกลางนูนโค้งและมีส่วนขอบบางกว่า แสงเมื่อเดินทางผ่านเลนส์นูนจะเกิดการหักเห รวมแสงที่จุด จุดหนึ่ง ถ้าเราใช้เลนส์นูนส่องดูวัตถุจะทำให้ดูว่าวัตถุใหญ่ขึ้น เช่น การมองตัวหนังสือผ่านเลนส์นูน

2. เลนส์เว้า มีลักษณะขอบโดยรอบหนากว่าส่วนกลางของเลนส์เมื่อแสงเดินทางผ่านเลนส์เว้าจะเกิดการหักเห และกระจายออกจากกัน ดังนั้นเลนส์เว้าจึงมีคุณสมบัติในการกระจายแสงเมื่อเรามองวัตถุผ่านเลนส์เว้าภาพที่เกิดจะมองเห็นวัตถุเล็กลงกว่าเดิม เช่น การมองตัวหนังสือผ่านเลนส์เว้า

บทความ


กิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ในเด็กปฐมวัย


วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในชีวิตประจ ำวันของคนเรา จะเห็นว่า แม้แต่เด็กปฐมวัยก็ยังได้รับประสบการณ์ในชีวิตประจำวันที่มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น ประกอบกับเด็กปฐมวัยมีความอยากรู้อยากเห็นและมักจะตั้งคำถามกับสิ่งรอบตัวอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ เด็กปฐมวัยควรจะได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการค้นคว้าหาความรู้ เพื่อที่จะได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ และ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และ จะได้มีโอกาสพัฒนา และ ประยุกต์ความรู้เหล่านั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไปในอนาคต


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิทยาศาสตร์ประถมศึกษา (2551) นำเสนอ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ครูและผู้ปกครองควรจะส่งเสริมให้แก่เด็กปฐมวัย ประกอบด้วย


1. ทักษะการสังเกต หมายถึง การสำรวจสิ่งต่างๆรอบตัว เด็กทารกจะใช้สายตาสำรวจสิ่งต่างๆที่อยู่โดยรอบ ใช้มือสัมผัสสิ่งต่างๆอย่างสนใจ หรือ อาจจะหยิบสิ่งต่างๆรอบตัวมาบีบ กัด ดมเล่น ซึ่งทุกครั้งที่มีโอกาสกระทำเช่นนั้น ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และ นำไปสู่ การพัฒนาความคิดในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
2. ทักษะการจำแนกประเภท เป็นทักษะการแบ่งกลุ่มโดยมีเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง

3. ทักษะการทำนาย เป็นทักษะการคาดคะเนคำตอบก่อนจะพิสูจน์ด้วยการทดลอง โดยอาศัยประสบการณ์เดิม ความรู้เดิมมาช่วยทำนาย


4. ทักษะการวัด เป็นการเลือกใช้เครื่องมือ วัดหาปริมาณ น้ำหนัก ความสูง ความยาว ของสิ่งต่างๆ โดยในระดับปฐมวัย อาจจะใช้เครื่องมือวัดที่ไม่เป็นมาตรฐาน เช่น ใช้คืบมือ ใช้คลิปมาต่อกัน เป็นต้น


5. ทักษะการคำนวณ ซึ่งหมายถึงการนับจำนวนของวัตถุ และ นำค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกัน

6. ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
การวัด การทดลอง และ จากแหล่งอื่นๆ มาจัดกระทำใหม่ และ นำเสนอเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมาย


7. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติของวัตถุ ระหว่างตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่งและระหว่างการเปลี่ยนตำแหน่งหรือมิติของวัตถุกับเวลาที่เปลี่ยนไป


8. ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิมมาช่วย


การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย ครูผู้สอนควรจะต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรมให้เด็กเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จริง เช่น พาเด็กๆไปทัศนศึกษา หาสื่ออุปกรณ์ของจริงที่เด็กได้หยิบ จับ ทดลองกระทำกับวัตถุสิ่งของจริง โดยประสบการณ์ที่จัดให้แก่เด็กนั้นจะต้องมีความหมายต่อเด็ก เป็นสิ่งที่สัมพันธ์กับสิ่งที่เคยเรียนรู้ เคยพบเห็น และ สามารถนำมาปรับใช้ได้ในอนาคตารประกอบอาหาร เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ส่งเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย โดยทั่วไปแล้ว เด็กเล็กๆในวัยนี้มักจะไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองให้ช่วยทำอาหาร อาจจะเป็นเพราะเกรงในเรื่องความปลอดภัย หากใช้มีดที่มีความคม หรือ หากต้องประกอบอาหารโดยใช้ความร้อน แต่หากมองอีกแง่มุมหนึ่ง การประกอบอาหารเป็นกิจกรรม และ จัดว่าเป็นสื่อการสอนอย่างดีที่จะช่วยพัฒนาทักษะ ความรู้ และ ความเข้าใจในแนวคิดทั้งทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ หากครู และ ผู้ปกครองให้ความช่วยเหลือเด็ก อยู่ใกล้ๆ และ คอยระมัดระวังอันตรายที่อาจจะ

เกิดขึ้นกับเด็กในขณะทำอาหาร เด็กก็จะได้รับประโยชน์จากกิจกรรมประกอบอาหารอย่างมาก

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วันที่ 9 กันยายน 2557


ความรู้ที่ได้รับ



การประยุกต์ใช้

นำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการ

ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติ่มและสามารถนำไปใช้ได้จริงในอนาคต

ประเมิน

ตนเอง  ตั้งใจเรียนและสามารถนำสิ่งที่เรียนมาสรุปได้

เพื่อน  เพื่อนๆก็ตั้งใจเรียนและตอบคำถามที่อาจารย์ได้ดี

อาจารย์  อาจารย์สอนและให้คำอธิบายได้เป็นอย่างดีค่ะ




วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วันที่ 2 กันยายน 2557

                สัปดาห์นี้อาจารย์ให้ไปดูงานวิทยาศาสตร์ที่สนามกีฬาในร่มเพื่อให้ไปศึกษาหาความรู้นอก

สถานที่





ความรู้ที่ได้รับ

     สามารถนำเอาความรู้ที่ไปเข้าร่วมกิจกรรมนั้นสามรถนำไปจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กได้ในอนาคต


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วันที่ 26 สิงหาคม 2557

 ความรู้ที่ได้รับ


การประยุกต์ใช้

สามารถนำเอาสิ่งที่อาจารย์สอนไปใช้สอนกับเด็กได้ในอนาคต


การประเมิน

ตนเอง  ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังอาจารย์สอน

เพื่อน  เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์สอนและแต่งกายเรียบร้อย

อาจารย์  อาจารย์สอนได้เข้าใจและมีการใช้คำถามแบบปลายเปิดเพื่อที่จะให้นักเรียนมีการตอบและแสดงความคิดเห็น




วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วันที่ 19 สิงหาคม 2557

สัปดาห์นี้อาจารย์ได้แจก course syllabus และบอกอธิบายเกี่ยวกับรายวิชานี้และบอกข้อตกลงในการ

เรียนวิชานี้